top of page

The Trouble with Poking Holes connects a group of contemporary artists and their dedication to their craft as they approach the unspoken troublesome truth of modernity under one roof. Their artworks may be different but the one element tying them together is their curiosity on life, the environment, society and the addiction to poking at topics expressing uncomfortable truths.

the Trouble with Poking Holes
Artists: Zlurppy , TU!! , badlydrawnartist , Tanpopoe , Rattee , Stylepor , Scarlet Timpernel, Juliah S. Champion and more 

Curator: Natasha Chawla
17 December 2022 - 18 February 2023
Location: CREATIVBKK Gallery

Humans poke holes.


Eating the forbidden fruit, licking the psychedelic fungus, inhaling the heady scents, fingers delving into dark orifices, consensual or sometimes not, hoping the inhabitants won’t bite, wanting to possess every beautiful thing, consuming the world.


In faraway lands, poking holes in the status quo. Peppering constitutions, traditions and institutions with ideological bullet holes.


Creators and destroyers, mini maniacal gods, making art and tearing down cities.


With one hand, wielding a paint brush, fiddle, pen, or chisel, creating worlds with fingers and minds. With the other hand, yeeting single use artifacts of capitalist culture into the ocean, Starbucks cups bobbing in the waves forever.


Programming the drones that blow villages sky high. Stoking the flames, sending smoke, pouring through chimneys high.


The last hole, the red button of nuclear annihilation.


Salvation. Salvation. Salvation.

Creativbkk end of year psychedelic group exhibition curated by Natasha Chawla @natashatmc expects to provoke minds by showcasing a massive collection of artworks by local emerging artists including @zlurppy @badlydrawnartist @tu_illustratu @tanpopoe @stylepor_ @rt_rattee and a few more artists to be revealed; each poking at phenomenal satirical holes.

-จิ้ม-

กิริยา:

1) เอาสิ่งใดสิ่งหนึ่งทิ่มหรือแทงเบา ๆ เพื่อตอบสนองความสงสัย หรือ ทำให้เกิดรู

2) เอาสิ่งใดสิ่งหนึ่งแตะๆ  เพื่อให้เกิดการติดของของสองชนิด

 

มนุษย์ช่างเต็มไปด้วยความอยากรู้อยากเห็น เราเรียนรู้ด้วยระบบสัมผัส ด้วยการจับต้อง

จิ้มทีละนิด ลอง เรียนรู้ ลืม ลองใหม่ หวังผลที่เปลี่ยนแปลง โดยไม่คำนึงถึงกรรมจากกิริยาของเรา

 

บางสิ่งที่เราจิ้ม ทิ่มแทงเบาๆ อาจไม่ชอบ มีการตอบสนองกลับ มีผลลัพท์ เกิดการต่อต้าน และทำลาย ทำร้ายกลับ

แต่เราไม่เคยหยุดจิ้ม

 

จิ้ม จิ้ม จิ้ม

 

แต่บางอย่าง ขาดการเปลี่ยนแปลงมานาน ก็ควรถูกทิ่มแทง เพื่อทำให้ชำรุด และมีการพัฒนา

เราทำให้เกิดรู ให้เกิดความสงสัย (ไม่ใช่ให้เกิดปัญหา) ในสภาพที่เป็นอยู่  ประเพณี และสถาบันต่างๆ

ถ้าบางอย่างขาดหายไป จะมีสิ่งทดแทน วัฏจักรของการสร้างและถูกทำลาย

 

มนุษย์ไม่เคยทำอะไรอื่นนอกจากสร้างและทำลาย เป็นกิริยาที่มาด้วยกัน และมีกรรมเป็นมวลมนุษย์เองโดยปริยาย เวลาเป็นเพียงดัชนีของผลกรรม

 

เราคือไฟ ที่เผาผลาญด้วยความอยากรู้อยากเห็น

 

จิ้ม

 

อะไรจะเป็นสิ่งสุดท้ายที่เราจิ้ม

 

The Trouble with Poking Holes เชื่อมโยงกลุ่มศิลปินร่วมสมัยเข้ากับการอุทิศตนเพื่องานฝีมือของพวกเขา ขณะที่พวกเขาเข้าใกล้ความจริงอันยุ่งยากที่ไม่อาจพูดได้ของความทันสมัยภายใต้หลังคาเดียวกัน  ผลงานศิลปะของพวกเขาอาจแตกต่างออกไป แต่องค์ประกอบหนึ่งที่เชื่อมโยงพวกเขาเข้าด้วยกันคือความอยากรู้อยากเห็นเกี่ยวกับชีวิต สิ่งแวดล้อม สังคม และการเสพติดการจิ้มไปที่หัวข้อที่แสดงความจริงที่ไม่สบายใจ

 

นิทรรศการกลุ่มไซคีเดลิกส่งท้ายปีของ Creativbkk คาดว่าจะกระตุ้นความคิดด้วยการจัดแสดงผลงานศิลปะจำนวนมหาศาลโดยศิลปินหน้าใหม่ในท้องถิ่นที่เจาะช่องเสียดสีปรากฏการณ์

ARTISTS

IMG_6579.jpg

Mixed Media

IMG_6688.jpg

Acrylic on Canvas

IMG_6618.jpg

Mixed Media

Screen Shot 2565-12-02 at 19.31.51.png

Street Artist

TU.png

NFT + Mixed Media

Mac Face sample - Scarlet Timpernel.jpg

Digital Illustrations

Screen Shot 2565-10-26 at 00.08.30.png

Street Artist

Screen Shot 2565-10-26 at 00.08.07.png

Street Artist

Concept: AN ARTIST's JOURNEY INTO CUBISM. This series of works brings together the style of modern painting in the early 20th century by telling the story of an artist and his perspective of life in three chapters. With this you can understand how art can communicate feelings and sufferings such as ‘depression’ or ‘full of life’ without uttering a single word. Chapter I: White Period The white period is a collection of portraits drawn by the artist when he was suffering from depression. He drew close friends, family, he drew from his imagination and he even drew self portraits. All were filled with cold colour tones as he was unintentionally pouring his own emotions; representing lifelessness, emptiness, and soullessness. I suffer. You write. Don’t worry, John. I’ve done my baptism with my blood. I’m in flames. Perish in the chest. I don’t know the place and time, I don’t know what I came to do in this planet. Don’t try to understand my loneliness. I’m walking only on the roof of the sky. I only know that even the twenty-first century cannot be saved. Tell the Lord Christ to come down from the cross. I’ll be greedy instead. - Dan Aran Saengthong, white shadow. Chapter II: MUSE This chapter contains a love interest, aka his muse. The artist met a lady who unknowingly inspired him, and maybe even healed him. Most of the content in this chapter is heavily influenced by his muse; the simple daily interaction they had which the artist felt was necessary to capture. The artist may have not said it with words, but you can tell he was falling in love. Chapter III: Cubism This series was born out of the artist’s intention to find his creative voice by restoring the most influential artistic cult of the 20th century. His aim is to bring back cubism to life by studying and decomposing his realistic surroundings in this modern world in paintings that appeared fragmented and abstracted. “This series of work of mine is a new interpretation of reality. By symbolising the uniqueness of the surroundings with which I’m connected to or people I love or the statues of sacred things that are associated with Thai people under the concept of cubism.” - Demain Factory ผลงานชุดนี้เป็นการนำเอาสไตล์ผลงานจิตรกรรม โมเดิร์น ในช่วงต้นศตวรรษที่20 มาเล่าใหม่ผ่านมุมมองของศิลปินต่อเหตุการณ์ต่างๆ ในชีวิต โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อถ่ายทอดความงามและฟื้นคืนผลงานในยุคที่กล่าวมาข้างต้นให้กลับมามีชีวิตอีกครั้ง Chapter I: White Period White Period คือ ชุดภาพบุคคลที่ศิลปินวาดไว้ตอนป่วยเป็นโรคซึมเศร้า เป็นบุคคลคนใกล้ตัวของศิลปิน ไม่ว่าจะเป็นเพื่อน ครอบครัว ตัว เอง หรือบุคคลในจินตนาการที่ศิลปินใช้เป็นตัวแทนอารมณ์ความรู้สึกในขณะนั้น โดยใช้สีขาวเป็นสีโทนหลักในการสร้างสรรค์ผลงาน สะท้อนถึงความรู้สึกไร้ชีวิตชีวา ความว่างเปล่า ความกังวลและความทุกข์ รวมถึงความเจ็บป่วยจากโรคประจําตัว กูทรมาน แกเขียน อย่ากังวลไปเลย จอห์น กู ทำ พิธีแบปติสม์ให้ตัวกูแล้ว ด้วยเลือด กูมีเปลวไฟเผา ผลาญอยู่ในทรวงอก กูไม่รับรู้ถึงสถานที่และกาล เวลา กูไม่รู้ว่ากูมาเพื่อที่จะทำอะไรบนดาวดวงนี้ อย่าพยายามที่จะเข้าใจความอ้างว้างของกู กูเดิน อยู่แต่เพียงล่าพังเท่านั้นบนหลังคาของท้องฟ้า กูรู้เพียงว่าแม้แต่ศตวรรษที่ยี่สิบเอ็ดก็ยังกูไว้ไม่ได้ บอกพระคริสต์เจ้าให้ลงมาจากไม้กางเขนได้แล้ว กูจะขึ้นไปแทนเอง - แดนอรัญ แสงทอง, เงาสีขาว Chapter II: MUSE Muse คือ ชุดภาพที่ศิลปินวาดขึ้นโดยได้แรงบันดาลใจมาจากคนรัก เนื้อหาในภาพส่วนใหญ่เป็นเหตุการณ์ในชีวิตประจำวันระหว่างศิลปิน กับคนรัก ซึ่งนำไปสู่การหายจากโรคซึมเศร้าของศิลปิน Chapter III: Cubism ผลงานชุดนี้เกิดขึ้นจากความตั้งใจของศิลปินในการฟื้นคืนคิวบิสม์ ลัทธิทางศิลปะที่มีอิทธิพลมากสุดในศตวรรษที่ 20 ให้กลับมามีชีวิตอีก ครั้งในยุคปัจจุบันผ่านภาพวาดสีน้ำมัน โดยเนื้อหาในงานได้รับแรงบันดาลใจจากสิ่งรอบตัวของศิลปิน ไม่ว่าจะเป็นสถานที่ บุคคล รวมถึง ความเชื่อต่อสิ่งเร้นลับ “งานชุดนี้ของข้าพเจ้าเป็นการตีความหมายสิ่งรอบตัวขึ้นใหม่โดยการ สร้างสัญญะที่เป็นอัตลักษณ์ในรูปแบบเฉพาะภายใต้แนวความคิดคิวบิสม์ เนื้อหาในงานส่วนใหญ่มาจากสิ่งรอบตัวที่ข้าพเจ้าผูกพัน ไม่ว่าจะเป็นคน รักของข้าพเจ้า งานจิตรกรรมฝาหนังที่พบได้ทั่วไปตามวัดวาอาราม หรือรูปปั้นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่มีความผูกพันกับคนไทย” - Demian Factory

bottom of page